คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์




                       คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่งชุดคำสั่ง หรือ   โปรแกรมต่างๆ สามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือ
       มีศักยภาพสูงในการคำนวณประมวลผลข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลข รูปภาพ  ตัวอักษร และเสียง 

ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์
                 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ 
                หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์  แบ่งออกเป็น  5  ส่วนคือ
       ส่วนทีหน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unit)  
       เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อ ทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนด
               ให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการ ได้แก่
              -แป้นอักขระ (Keyboard)
              -แผ่นซีดี (CD-Rom)
              -ไมโครโฟน (Microphone) เป็นต้น
       ส่วนที2 หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit)
               ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมถึง
       การประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
       ส่วนที่3 หน่วยความจำ  (Memory Unit)
              ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไป
       ประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จาการประมวลผลแล้วเพื่อ
       เตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล
       ส่วนที่4  หน่วยแสดงผล  (Output Unit)
              ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวณแล้ว
       ส่วนที่5  อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ(Peripheral Equipment)
              เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ
       ในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น โมเด็ม (modem) แผงวงจรเชื่อมต่อ เครือข่าย เป็นต้น



       ส่วนที่1 CPU
       CPU เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เปรียบเสมือนสมอง 
              มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวนผลและเปรียบเทียบ
       ข้อมูล โดยทำการเปลี่ยนแปลงข้อมูลดิบและแปลงให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้
       ประโยชน์ได้ ความสามารถของ ซีพียู นั้น พิจารณาจากความเร็วของการทำงาน การรับส่ง
       ข้อมูล อ่านและเขียนข้อมูลในหน่วยความจำ ความเร็วของซีพียูขึ้นอยู่กับตัวให้จังหวะที่เรียก
       ว่า สัญญาณนาฬิกา เป็นความเร็วของจำนวนรอบสัญญาณใน 1 วินาที มีหน่วยเป็น 
       เฮิร์ตซ์(Hertz)เช่น สัญญาณความเร็ว 1 ล้านรอบใน 1 วินาที เทียบเท่าความเร็วสัญญาณ
       นาฬิกา 1 จิกะเฮิร์ตซ์ (1GHz)
                          
       ส่วนที่หน่วยความจำ (Memory)
       จำแนกออกเป็น  2 ประเภท ดังนี้
                1. หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
                2. หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage)

1. หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
       เป็นหน่วยเก็บข้อมูลและคำสั่งต่างๆของเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย
               ชุดความจำข้อมูลที่สามารถบอกตำแหน่งที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่ง ข้อมูลจะถูกนำไป
       เก็บไว้และสามารถนำออกมาใช้ในการประมวลผลภายหลัง โดยCPUทำหน้าที่ในการ
       นำข้อมูลเข้าและนำออกจากหน่วยความจำ  การทำงานของคอมพิวเตอร์ ต้องใช้พื้นที่ของ

        หน่วยความจำในการทำงานประมวลผล และเก็บข้อมูล ขนาดของความจุของหน่วยความจำ 
       คำนวณได้จากค่าจำนวนพื้นที่ที่สามารถใช้ในการเก็บข้อมูล จำนวนพื้นที่คือจำนวนข้อมูล 
       และขนาดของโปรแกรมที่สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุด พื้นที่หน่วยความจำมีมากจะ
       ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วมากยิ่งขึ้น

       หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
            หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU  มีความหมายทางด้านฮาร์ดแวร์ 2 อย่าง คือ

    1.ชิป (chip) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์




           2. ตัวกล่องเครื่องที่มี CPU บรรจุอยู่
    
1.หน่วยความจำหลัก
          แบ่งได้ 2  ประเภทคือ หน่วยความจำแบบ แรม (RAM)และหน่วยความจำแบบรอม”(ROM)


          บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
          1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ (EDP Manager)
          2. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน (System Analyst หรือ SA)
          3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
          4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer Operator)
          5. พนักงานจัดเตรียมข้อมูล (Data Entry Operator) 
           -นักวิเคราะห์ระบบงาน   
         ทำการศึกษาระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่            
          -โปรแกรมเมอร์                
         นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม                    
          -วิศวกรระบบ                
       ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมบำรุง และดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถ
       ทำงานได้ตามต้องการ                    
          -พนักงานปฏิบัติการ                
         ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ หรือภารกิจประจำวัน ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์
                       
         อาจแบ่งประเภทของบุคลากรคอมพิวเตอร์
         เป็นระดับต่างๆได้ 4 ระดับดังนี้
         1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) 
         คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
         2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) 
        คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
         3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) 
        คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้
        4. ผู้ใช้ (User) 
        คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งาน
        โปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ
                
        มอบหมายให้ทำ(Assignment)สารบัญวัตถุประสงค์
         1.ลดการใช้วัสดุย่อยสลายยาก
         2.ใช้วัสดุที่เป็นมิตรับสิ่งแวดล้อม
         3.Reuse
        2. หน่วยความจำสำรอง
                    หน่วยความจำชนิดนี้มีไว้สำหรับสำรองหรือทำงานกับข้อมูลและโปรแกรม
        ขนาดใหญ่เนื่องจากขนาดของหน่วยความจำหลักมีจำกัด หน่วยความจำสำรอง
        สามารถเก็บไว้ได้หลายแบบ เช่น แผ่นบันทึก (Floppy Disk) จานบันทึกแบบแข็ง
        (Hard Disk) แผ่นซีดีรอม (CD-ROM)จานแสงแม่เหล็ก 

อ้างอิง
         อาจารย์ ดร.ทัศนีย์  บุญชูวิทย์. (2555). แบบการเรียนการสอนเรื่องคอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์. ค้นเมื่อกรกฎาคม 12, 2555.